THE DEFINITIVE GUIDE TO ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Definitive Guide to ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Definitive Guide to ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

จากการขาดแคลนแรงงานฝีมือ และความต้องการพัฒนาประเทศ จึงทำให้สถานศึกษาหาแนวทางการแก้ไข เพื่อทำให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการขององค์กรต่างๆ โดยได้มีการพัฒนาหลักสูตร คุณภาพ และการบูรณาการ เพื่อเสริมสร้างคุณภาพของผู้เรียน 

นิพนธ์ พัวพงศกร รำลึกถึง ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาคนสำคัญของไทย ผ่านบทเรียนภาคสนามจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย

ภาพรวมข้างต้นเป็นเหตุให้เราต้องย้อนกลับมาตั้งคำถามว่า การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาของไทยที่ผ่านมาเป็นอย่างไร และอะไรคือหล่มกับดักที่ทำให้เรายังคงไปไม่ถึงความเสมอภาคที่ควรจะเป็น

เมื่อเวลาเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ก็เปลี่ยนไป บริบทของคนในพื้นที่ที่เคยเป็นแนวร่วมคอมมิวนิสต์ได้เปลี่ยนเป็นนักพัฒนาเปลี่ยนพื้นที่ให้มีความมั่นคงเข้มแข็ง และบทบาทหน้าที่ของ ตชด. ก็ปรับเปลี่ยนไปตามกาลเวลาเช่นกัน แต่มือก็ยังถือชอล์กเขียนกระดานดำ และยกระดับเป็นครูตชด.นักพัฒนาที่สร้างความเข้มแข็งในพื้นที่อย่างยั่งยืน ด้วยความรู้ ทักษะวิชาชีพเพื่อการพัฒนาประชาชนในพื้นที่อย่างรอบด้าน  แต่มีปัญหาที่รอการแก้ไขหนึ่งเรื่องสำคัญคือ ความรู้การสอนของครู ตชด.

ภูมิลำเนา และสภาพแวดล้อมของผู้เรียน

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ผู้ว่าราชการท่านมาแล้วก็ไป สุดท้ายคนที่จะต้องลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาร่วมกันก็ต้องเป็นคนในจังหวัดนั้นๆ”

ความเหลื่อมล้ำด้านการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานมีแนวโน้มลดลง:

เราจะพบว่าโรงเรียนไม่ได้เป็นเพียงแค่สถาบันเพื่อการเรียนรู้เพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นพื้นที่หนึ่ง ที่ทำให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายสมวัย ยกตัวอย่างในกรณีเด็กยากจน เด็กที่มีพ่อแม่เป็นกรรมกรเคลื่อนย้าย หรือเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ การจัดบริการอาหารเช้าและอาหารกลางวันในโรงเรียน หรือบริการอื่น ๆ ในโรงเรียน เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยผ่อนคลายภาระของครอบครัวเป็นอย่างมาก

This cookie identifies the source of traffic to the positioning - so Google Analytics can notify internet site homeowners where readers arrived from when arriving on ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา the internet site. The cookie has a everyday living span of six months which is up-to-date anytime details is shipped to Google Analytics.

ดร.ศุภโชค ปิยะสันต์ ที่ปรึกษาเครือข่ายชมรมนักจัดการศึกษาบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร กล่าวถึงความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มโรงเรียนขนาดเล็กที่กำลังจะเพิ่มจำนวนขึ้น แต่รูปแบบงบประมาณยังไม่เปลี่ยนแปลง

โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาสําหรับนักเรียนในพืนที่ห่างไกลเป็นครูรุ่นใหม่เพือพัฒนาคุณภาพโรงเรียนของชุมชน (ครูรัก(ษ์)ถิ่น)

ส.ต.หญิง สุธัญญา แตงทอง นักศึกษาครูของโครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารที่มีความตั้งใจและมุ่งมั่นไปเรียนรู้เพื่อกลับมาพัฒนาห้องเรียนอย่างที่ตั้งใจ

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ สิทธิกานต์ ธีระวัฒนชัย เขียนถึงระเบียบใหม่เรื่องทรงผมนักเรียนที่คล้ายจะมีพัฒนาการในแง่บวก แต่ยังไม่ได้คำนึงถึงสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของนักเรียนอย่างแท้จริง

Report this page